4 การพนัน พื้นบ้านเป็นที่นิยมแห่งการเล่นของคนไทย
จากการละเล่นพื้นบ้าน เพื่อความสนุกสนานของกลุ่มคนเล็กๆ ที่เกิดขึ้นจากชาวบ้าน สู่การเป็นที่นิยมแห่งการเล่น การพนัน ของคนไทยในยุคปัจจุบัน ซึ่งการเล่นการพนัน หรือการละเล่นพื้นบ้านในไทยต่างก็มี การเล่นที่ประจำตัวของแต่ละภาคของไทย โดยที่ประเทศไทยนั้นมีภูมิภาคทั้ง หมด 4 ภาค อ้างอิงจากแหล่งที่เชื่อถือได้จากเว็บไซต์ วิกิพีเดีย ประกอบไปด้วย ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และ ภาคใต้
ด้วยจำนวนทั้งหมดในแต่ละภูมิภาคของไทยนั้น ก็จะมีการละเล่นพื้นบ้านทั่วไปที่จำกัดเฉพาะ และการพนันพื้นบ้านจนมาถึงปัจจุบันนี้ ที่มีความแตกต่างกันไปของเหล่าประเพณีและวัฒนธรรมในแต่ละภาคนั้นๆ
โดยบทความนี้ เราได้นำเสนอ 4 การพนันพื้นบ้านเป็นที่นิยมแห่งการเล่นของคนไทย และการละเล่นพื้นบ้านในแต่ละภาคของไทย ซึ่งบทความที่น่าสนใจนี้จะต้องเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านอย่างแน่นอน และหากท่านใดสนใจ อ่านบทความก่อนหน้านี้หรือบทความทั้งหมดของเรา สามารถอ่านได้ที่ sexy gaming เว็บไซต์คาสิโนออนไลน์ เกมสล็อตออนไลน์ ที่เป็นสุดยอดนิยมในตอนนี้
1. การเล่นเกม การพนัน พื้นบ้าน ชนกว่าง คือ
การเล่นการพนัน ชนกว่างถือว่าเป็นอีกหนึ่งการเล่นของชาวพื้นเมืองภาคเหนือเลยก็ว่าได้ จัดกิจกรรมขึ้นแค่หนึ่งครั้งในรอบปีเท่านั้น ซึ่งถือว่ากว่าจะถึงฤดูการเล่นการพนัน ชนกว่างนี้ถ้าหากพลาดไป ก็ต้องรออีกหนึ่งปี ถึงจะมีการเล่นอีกครั้ง ในเหตุนี้คนภาคเหนือถึงได้อนุรักษ์การชนกว่างไว้ หรือเรียกว่าเป็นประเพณีวัฒนธรรมที่ไม่ควรพลาด
การเล่น ชนกว่างเกิดขึ้นจากการที่ ผู้คนรวมตัวกัน ต่างคนก็ต่างนำตัวกว่างมาชนกันเพื่อการแข่งขัน และได้เดิมพันการพนัน ว่ากว่างใครจะต่อสู้ได้เก่งกว่ากัน จึงถือว่าเป็นการเล่นการพนันที่เกิดขึ้นในกลุ่มคนเล็กๆ
2. การเล่นเกมการพนันพื้นบ้าน ปลากัด คือ
การแข่งขันปลากัดจะมีลักษณะคือ การนำปลากัดมาต่อสู้กัน ตามประวัติศาสตร์ของไทยนั้น ปลากัดถูกขนานนามว่าเป็นนักสู้ที่สวยงามแห่งสยาม ที่เป็นรองไม่แพ้กับไก่ชน เพราะปลากัดมีเอกลักษณ์ที่หางสวยงาม มีสีสันสดใส ทั้งตัวผู้และตัวเมีย ซึ่งตามประวัติศาสตร์ของไทย ปลากัดนั้นไม่สามารถบอกได้ว่ามีต้นกำเนิดที่แน่ชัดมาแต่เมื่อใด ด้วยการที่เป็นปลาที่อาศัยอยู่ในธรรมชาติมาก่อน มนุษย์เราจึงไม่สามารถระบุได้ว่า ปลากัดนั้นมีมาก่อนเราหรือไม่ แต่ด้วยการนี้เมื่อมีคนจับปลากัดขึ้นมาเพราะความสวยงามของมัน จึงถูกนำมาจัดการแข่งขันปลากัดขึ้นมานั้นเอง
ซึ่งปลากัดมีทั้งสาย ปลาที่นำมาต่อสู้กัน และสายปลาที่นำมาเลี้ยงดูเพื่อความสวยงามของมันเท่านั้น
3. การเล่นเกมการพนันพื้นบ้าน ไฮโล คือ
เกมการเล่นพนัน ไฮโล เป็นอีกหนึ่งเกมพื้นบ้านที่ไม่มีใครไม่รู้จัก ซึ่งการเล่นมีลักษณะที่ง่ายเพียงแค่เดาผลของการทอยลูกเต๋าที่อยู่ภายในกระติบข้าวเหนียว ว่าผลออกมาตรงตามกับที่เราได้วางเดิมพันไปไหมนั้นเอง โดยการเดิมพันการเล่นไฮโล จะเดิมพันด้วยการแทงสูง แทงต่ำ ตามตัวเลขที่กำหนดในส่วนของการแทงสูงหรือแทงต่ำ
การพนันไฮโล มักจะพบเจอการเล่นได้ง่าย ตามบ้านของเจ้ามือ ชุมชน หรือหมู่บ้านทั่วไป ที่เป็นกิจกรรมยามว่างของชาวพื้นบ้าน จนมีการพัฒนาการเล่นไฮโลมาให้เห็นถึงปัจจุบันนี้
4.การเล่นเกม การพนันพื้นบ้าน น้ำเต้าปูปลา คือ
น้ำเต้าปูปลา คือการเล่นที่มาในรูปแบบการพนัน โดยผู้เล่นมักจะเดิมพันจากผลการเล่นบนแผ่นกระดาษของเกมน้ำเต้าปูปลา ที่ทอยด้วยลูกเต๋า 3 ลูก ซึ่งบนแผ่นกระดาษของเกมน้ำเต้าปูปลานั้น จะมีลักษณะคือมีรูปน้ำเต้า ปู ปลา รวมทั้งสัตว์อื่นๆ ที่แสดงบนแผ่นกระดาษเกม โดยผลของการชนะเกมจะขึ้นอยู่ที่การทอยลูกเต๋า และการเลือกการวางเดิมพันที่ตัวใดบนแผ่นกระดาษของเกม หากทอยลูกเต้าตรงกับตัวที่เราเลือก ผู้ชนะก็รับเงินการเดิมพันนั้นคืนรวมถึงเงินของผู้ที่แพ้ด้วย
ในยุคปัจจุบันเริ่มมีการพัฒนามากขึ้น จึงทำให้การเล่นเกมการพนันพื้นบ้านต่างๆ มากมายยังมีให้พบเจอได้ในโลกอินเตอร์เน็ต ยกตัวอย่างเช่น เกมไฮโลผู้คนสามารถเล่นได้ที่เว็บไซต์คาสิโนออนไลน์ ที่มีการเล่นทั้งรูปแบบระบบออนไลน์และออฟไลน์ นั้นเอง
การละเล่นพื้นบ้านของชาวบ้านในแต่ละภูมิภาคของไทย ซึ่งมีทั้งหมด 4 ภาค มีดังนี้
1.ภาคเหนือ
– ชนกว่าง
-ม้าจกคอก
-ซิกโก๋งเก๋ง
-หมากข่าง
-ดีดหนังว้อง
2.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-การแข่งเรือยาว
-โปงลาง
-มโหรี
-เส็งกลอง
-โถกเถก
3.ภาคกลางและภาคตะวันออก
-ชักว่าวขึ้นฟ้า
-มวยไทย
-หุ่นกระบอก
-หมากเก็บ
-ตระกร้อ
4.ภาคใต้
-การชนวัว
-อีฉุด
-ขว้างราว
-หมากขุม
-ลิเกฮูลู
การละเล่นของชาวพื้นบ้านที่ได้กล่าวมานี้ เป็นเพียงกิจกรรมนันทนาการที่เป็นการส่งเสริมเอกลักษณ์ของแต่ละภาคไว้ให้คงอยู่ไปจนสู่ลูกหลาน ซึ่งบางประเภทของการละเล่นพื้นบ้านนั้น ก็ไม่ได้มีให้เห็นแล้วในปัจจุบัน ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกิดขึ้นมามากมายส่งผลให้การละเล่นพื้นบ้านนั้น ไม่ค่อยเป็นที่นิยมมาก นอกจากว่าจะมีการจัดกิจกรรมระลึกถึงการละเล่นพื้นบ้านในช่วงเทศกาลประจำภาคของแต่ละสถานที่นั้น